เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา 1/2558 หน่วยการเรียนรู้:
เป้าหมาย (Understanding Goal):
นักเรียนเคารพ ความแตกต่างของวิถีประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายและสามารถสืบสานถ่ายทอดวิถีปฏิบัติขนบธรรมเนียมประเพณีได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะและดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสมและมีวิจารณญาณ

วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

main

Mind mapping


 คำถามหลัก  Big  Questions : นักเรียนคิดว่าประเพณีท้องถิ่นมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนอย่างไร?

ภูมิหลัง: สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจากการไหลบ่า วัฒนธรรมตะวันตกทำให้วิถีชีวิตวัฒนธรรมที่ดีงามตั้งแต่อดีตเปลี่ยนแปลงและเริ่มเลื่อนลางหายไป เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร วิถีชีวิต  รวมทั้งทัศนคติ ซึ่งมีผลให้ชุมชนกลายเป็นสังคมเมือง ให้ความสำคัญในเรื่องความสะดวกสบายความรวดเร็ว  จากปัญหาดังกล่าวทำให้นักเรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้หน่วย “                     “ ใน Quarter นี้ เพื่อนำมาปฏิบัติ สืบสานอนุรักษ์และถ่ายทอดวิถีประเพณีได้อย่างเข้าใจ


ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ    (Problem Based Learning)  (PBL)
หน่วย: “ มาเด้อมาเอาบุญ  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (Quarter  1)  ภาคเรียนที่  1 ปีการศึกษา  2558
Week
lnput
Process
Output
Outcome
1

โจทย์:
- สร้างแรงบันดาลใจ
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้
Key Question:
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter  นี้   
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้
-เครื่องมือคิด
- Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ  เพลงฮีตสิบสองคลองสิบสี่                               - Show and Share สิ่งที่อยากเรียนรู้
นำเสนอชิ้นงาน
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอเพลงฮีตสิบสองคลองสิบสี่

- ครูให้นักเรียน ดูคลิปวีดีโอ เพลงฮีตสิบสองคลองสิบสี่
 - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเพลงที่ได้ฟังและได้ชม
- นักเรียนวาดภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรใน Quarter  นี้ เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนเรื่องนั้น โดยผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart
- นักเรียนเลือกหัวข้อสำหรับการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์








ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ
- การเลือกหัวข้อสำหรับการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น หรืออธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และต้องการรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงเพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการที่ได้ดูคลิปวีดีโอและสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
- อธิบายสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
ทักษะการแก้ปัญหา
จัดการปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงาน
คุณลักษณะ 
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เครารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
2

โจทย์ :
- การวางแผนและออกแบบ
- กระบวนการเรียนรู้
Key  Question
 นักเรียนจะวาง แผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้ได้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำปฏิทินการเรียนรู้ Quarter ที่ 1
Blackboard  Share : ชื่อหน่วย
Think Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้
Mind  Mapping : ก่อนการเรียนรู้
Wall  Thinking : ปฏิทินการเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
 สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ตั้งหัวข้อที่จะเรียนรู้ใน Quarter 1 ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter 1 ร่วมกัน
- นักเรียนออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ตลอดทั้ง 11 สัปดาห์ โดยใช้เครื่องมือคิด Think Pair Share
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- ตั้งหัวข้อที่จะเรียนรู้ใน Quarter - ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ตลอดทั้ง 11 สัปดาห์
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
- Mind  Mapping  ก่อนการเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้ Quarter ที่ 1
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนและน่าสนใจโดยเลือกจากสิ่งที่อยากเรียนรู้ร่วมกันมีกระบวนการทำงานเป็นทีม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างน่าสนใจ
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง

3

โจทย์ :
บุญประเพณี ฮีตสิบสองและวิถีชีวิตชาวอีสาน

Key  Question
 บุญประเพณี ฮีตสิบสอง คืออะไร มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของเราอย่างไร

เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวีดีโอ เพลงประเพณี
ฮีตสิบสอง
Think Pair Share : สิ่งได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
Wall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับบุญประเพณีของแต่ละเดือน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ บุญสิบสอง









- ครูเปิดคลิปวีดีโอบุญสิบสอง ให้นักเรียนดู   
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดบุญประเพณี ฮีต สิบสอง คืออะไร มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของเราอย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอและทบทวนประเพณีบุญต่างๆที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนของชาวอีสาน ที่มา ความสำคัญและสิ่งที่ชาวอีสานยึดถือและปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณจนกลายเป็นประเพณี
- นักเรียนจับคู่แต่ละคู่จับฉลากวาดภาพประเพณีของแต่ละเดือน
- นำชิ้นงานมาวางเรียงตามจุดต่างๆในชั้นเรียนและให้เพื่อนๆทายพร้อมทั้งบอกเหตุผล
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำและสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- อภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอและทบทวนประเพณีบุญต่างๆที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนของชาวอีสาน ที่มา ความสำคัญและสิ่งที่ชาวอีสานยึดถือและปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณจนกลายเป็นประเพณี
- วาดภาพบุญประเพณีของแต่ละเดือน
ชิ้นงาน
- วาดภาพบุญประเพณีของแต่ละเดือน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวบุญประเพณีที่มีความเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นของตนเองและสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านภาพได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
4

โจทย์ :
บุญซำฮะ
Key  Question
บุญซำฮะ คืออะไร
  เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวีดีโอ การผจญภัยของหนูดี  ตอนบุญซำฮะ
 Pair Share : สิ่งได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
Wall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูคลิปวีดีโอ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-คลิปวีดีโอ การผจญภัยของหนูดี ตอนบุญซำฮะ
- ชุมชน

- ครูเปิดคลิปวีดีโอการผจญภัยของหนูดี  ตอนบุญซำฮะ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าทำไมต้องมีการทำบุญซำฮะ  บุญซำฮะเกี่ยวกับหมู่บ้านของเราอย่างไร?”
- ครูให้การบ้านนักเรียนไปสอบถามผู้ปกครอง เกี่ยวกับประเพณีบุญซำฮะ ความสำคัญและวิธีการทำบุญซำฮะ
- รูเชิญผู้ปกครองเป็นวิทยากรอธิบายเกี่ยวกับบุญซำฮะและพานักเรียนทำกิจกรรมต่างๆ
- เรียนรู้วิถีการทำบุญซำฮะร่วมกับชุมชน
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
เกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมบุญซำฮะของชุมชนและสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์














ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ การผจญภัยของหนูดี  ตอนบุญซำฮะ
 - แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
ร่วมกันเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมบุญซำฮะของชุมชน
ชิ้นงาน
- สรุปความเข้าใจจากสิ่งที่ได้ไปสอบถามผู้ปกครอง
- ธงหน้าวัว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจวิถีการปฏิบัติตนในชุมชนและสามารถเข้าร่วมการทำบุญซำฮะได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เข้าร่วมกิจกรรมในการทำบุญซำฮะได้อย่างเหมาะสม
- สามามารถทำงานร่วมกับเพื่อนในกลุ่มและแก้ปัญหาระหว่างที่ทำงานได้
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปการผจญภัยของหนูดี  ตอนบุญซำฮะ
  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานธงหน้าวัว
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับบุญซำฮะของตนเองและกลุ่มให้ผู้อื่นได้เข้าใจร่วมกัน
 ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- ร่วมทำบุญซำฮะในชุมชนได้อย่างเหมาะสม
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างซึ่งมีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบใส่ใจในหน้าที่
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เครารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
5

โจทย์ :
ประเพณีบุญเข้าพรรษา
Key  Question
- ทำไมต้องมีวันเข้าพรรษา
- วันเข้าพรรษาเกี่ยวข้องกับชีวิตเราอย่างไร ?
  เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวีดีโอ เพลง วันเข้าพรรษา
Think Pair Share : สิ่งได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
Wall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูคลิปวีดีโอ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ เพลง วันเข้าพรรษา


- ครูเปิดเพลง วันเข้าพรรษา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดจากเพลงที่ได้ฟังมีเหตุการณ์อะไรบ้าง นักเรียนรู้สึกอย่างไรจากเพลงถ่ายทอดเรื่องราวอะไรบ้าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  ทำไมต้องมีวันเข้าพรรษา และวันเข้าพรรษาเกี่ยวข้องกับชีวิตเราอย่างไร ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเพณีบุญเข้าพรรษาในมิติต่างๆ ทั้งที่มา ความสำคัญ  ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนในชุมชน และกิจกรรมที่เกิดขึ้นในวันเข้าพรรษาและตลอดช่วงเข้าพรรษา
-ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
เกี่ยวกับประเพณีบุญเข้าพรรษาในรูปแบบการแสดงบทบาทสมมติ
- นักเรียนนำเสนอและสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติ
- นักเรียนสรุปความเข้าใจผ่านการทำชิ้นงานเป็นการ์ตูนช่องหรือนิทานอย่างสร้างสรรค์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์





ภาระงาน
- อภิปรายเกี่ยวกับประเพณีบุญเข้าพรรษาในมิติต่างๆ ทั้งที่มา ความสำคัญ  ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนในชุมชน และกิจกรรมที่เกิดขึ้น
- นำเสนอบทบาทสมมุติ
ชิ้นงาน
- นิทานหรือการ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
มีความรูความเข้าใจต่อประเพณีบุญเข้าพรรษาและสามารถถ่ายทอดในรูปแบบการแสดงได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อ
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
6

โจทย์ :
เทียนและสิ่งประดิษฐ์
Key  Question
เทียนมีคุณสมบัติอย่างไรและสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นอะไรได้บ้าง มีวิธีการทำอย่างไร
  เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็น
Think and Share : สิ่งได้เรียนรู้จากการทดลอง
Wall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลองทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ การทำดอกเทียน
- อุปกรณ์การทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน


- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดเทียนมีคุณสมบัติอย่างไรและสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นอะไรได้บ้าง”
- ครูนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเทียนและสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
- ครูนำเทียนชนิดต่างๆมาให้นักเรียนดูและให้นักเรียนทดลองใช้ไฟจุดและสังเกตการเปลี่ยนแปลง (ความร้อนมีผลทำให้เทียนเปลี่ยนรูปได้)
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเทียนสามารถนำไปประดิษฐ์เป็นอะไรได้บ้าง และจะมีวิธีการทำอย่างไร”
- ครูให้การบ้านสำหรับการเตรียมอุปกรณ์ในการทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
- ครูและนักเรียนลงมือทดลองทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
- ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคที่พบจากการทำงาน และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลองทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลองทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียนในรูปแบบ Flow Chart







ภาระงาน
การอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองและการทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียน
ชิ้นงาน
- วาดภาพออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากเทียนตามจินตนาการ
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลองทำสิ่งประดิษฐ์จากเทียนในรูปแบบ Flow Chart
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจคุณสมบัติของเทียนและสามารถวางแผนออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากเทียนตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการทดลองออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากเทียนตามจินตนาการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานประดิษฐ์จากเทียน
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
7

โจทย์ :
การหล่อต้นเทียน
Key  Question
ต้นเทียนมีวิธีการหล่ออย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms : การวางแผนเพื่อทดลองหล่อต้นเทียนWall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์หล่อต้นเทียน
- ครัวประถม


- ครูให้นักเรียนดูคลิป “ เทศกาลแห่เทียนเข้าพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าต้นเทียนมีวิธีการหล่ออย่างไร เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น”
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ วิธีการทำต้นเทียน
- ครูให้นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆ ละ 4 คน เพื่อออกแบบการทดลองการหล่อต้นเทียน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์การหล่อต้นเทียน เช่น แผ่นเทียน เทียนแท่ง แม่พิมพ์ ด้ายสำหรับทำไส้เทียน ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทดลองการหล่อต้นเทียนตามที่ได้วางแผน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานต้นเทียนของตนเอง และอธิบายวิธีการทำ
- นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียน จากการทดลองทำต้นเทียน เช่นปัญหาและอุปสรรคที่พบ วิธีการแก้ไข และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการทำต้นเทียน
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการทำต้นเทียนในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์






ภาระงาน
- การอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการทำต้นเทียน
- ถอดบทเรียน จากการทดลองทำต้นเทียน เช่นปัญหาและอุปสรรคที่พบ วิธีการแก้ไข และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการทำต้นเทียน

ชิ้นงาน
- ต้นเทียน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการทำต้นเทียนในรูปแบบ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถวางแผนออกแบบทำต้นเทียนด้วยตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการทำชิ้นงานและต้นเทียนได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นเห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างมีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบใส่ใจในหน้าที่
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
8

โจทย์ 
การแกะลายเทียน
Key  Question
นักเรียนจะมีวิธีการแกะลายเทียนอย่างไร
เครื่องมือคิด

Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการแกะลายเทียน
Wall  Thinking : ชิ้นงานที่เกิดขึ้น
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานการแกะลายเทียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ต้นเทียน
- ดอกเทียน
- อุปกรณ์การแกะลายเทียน















- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะแกะเทียนให้เป็นลวดลายได้อย่างไร”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- ครูให้นักเรียนดูคลิป ชุมชนแห่เทียนวัดผาสุการาม
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการแกะลายเทียน
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะแกะลายเทียนอย่างไรให้สวยงาม แปลกใหม่และน่าสนใจ”
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการแกะลายเทียนร่วมกัน
- ครูนำอุปกรณ์สำหรับการแกะเทียนมาให้นักเรียนดูและให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทดลองแกะเทียนให้เป็นลวดลายต่างๆตามจินตนาการ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชิ้นงานพร้อมทั้งอธิบายวิธีการทำ ปัญหาอุปสรรคที่พบ วิธีแก้ปัญหา ต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
- นักเรียนนำองค์ความรู้จากการแกะสลักไปใช้ในการต่อยอดทำธุรกิจเช่น แกะสลักเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง เทียนสปาแกะสลัก ฯลฯ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ สำหรับการแกะลายเทียน
- นักเรียนนำองค์ความรู้จากการแกะสลักไปใช้ในการต่อยอดทำธุรกิจ
ชิ้นงาน
- ต้นเทียนและดอกเทียนเทียนที่แกะให้เป็นลวดลายต่างๆตามจินตนาการ
- นักเรียนนำองค์ความรู้จากการแกะสลักไปใช้ในการต่อยอดทำธุรกิจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถออกแบบลายเทียนตามจินตนาการและนำความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้ในชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานลวดลายจากเทียนได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ และวางแผนการแกะลายเทียนอย่างสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อ
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง



9

โจทย์ :
ประเพณีบุญออกพรรษา
Key  Question
วันเข้าพรรษามีประวัติความเป็นมาอย่างไรและมีความเกี่ยวข้องกับใครบ้าง อย่างไร
  เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวีดีโอ เพลง วันออกพรรษา
Think Pair Share : สิ่งได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
Wall  Thinking : วาดภาพสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูคลิปวีดีโอ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อุปกรณ์การปั้น เช่นดินน้ำมัน, ดินเหนียว
- คลิปวีดีโอ เพลง วันออกพรรษา


- ครูเปิดเพลง วันออกพรรษา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดจากเพลงที่ได้ฟังมีเหตุการณ์อะไรบ้าง นักเรียนรู้สึกอย่างไรจากเพลงถ่ายทอดเรื่องราวอะไรบ้าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “วันเข้าพรรษามีประวัติความเป็นมาอย่างไรและมีความเกี่ยวข้องกับใครบ้าง อย่างไร มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตนักเรียนอย่างไร ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเพณีบุญออกพรรษาในมิติต่างๆ เช่น ที่มา ความสำคัญ  ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนในชุมชน และกิจกรรมที่เกิดขึ้นในวันออกพรรษาทั้งในอดีตและปัจจุบัน
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนถ่ายทอดสิ่งที่ได้ เรียนรู้เกี่ยวกับประเพณีบุญออกพรรษาในรูปแบบการแสดงบทบาทสมมติ
- นักเรียนนำเสนอและสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติ
- นักเรียนสรุปความเข้าใจผ่านการทำชิ้นงานในรูปแบบงานปั้นโดยครูแบ่งกลุ่มละ 4 คน จำนวน 6 กลุ่ม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางผลงานไว้ตามจุด ต่างๆที่กำหนด
และให้เพื่อนๆเดินไปดูและทายว่าแต่ละกลุ่มปั้นอะไรและต้องการสื่อถึงอะไรบ้าง
- นักเรียนและครูร่วมกันถอดบทเรียนที่ได้ จากการทำกิจกรรม เช่น ปัญหา อุปสรรค วิธีแก้ไข และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- อภิปรายเกี่ยวกับประเพณีบุญออกพรรษาในมิติต่างๆ ทั้งที่มา ความสำคัญ  ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนในชุมชน และกิจกรรมที่เกิดขึ้น
- การแสดงบทบาทสมมติ
- งานปั้นเกี่ยวกับประเพณีบุญออกพรรษา
- ถอดบทเรียนที่ได้จากการทำกิจกรรม เช่น ปัญหา อุปสรรค วิธีแก้ไข และสิ่งที่ได้เรียนรู้

ชิ้นงาน
- งานปั้นเกี่ยวกับประเพณีบุญออกพรรษา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
มีความรูความเข้าใจต่อประเพณีบุญออกพรรษาและสามารถถ่ายทอดในรูปแบบการแสดงและงานปั้นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อ
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เครารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
10

โจทย์ 
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
Key  Question
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วยหน่วย PBL : มาเด้อ มาเอาบุญและจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบการแสดงเพื่อสรุปองค์ความรู้ตลอดทั้ง Quarter ที่ 1
Wall  Thinking : ชิ้นงานต่างๆ เช่น Mind Mapping และสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานและสรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านละคร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์การแสดง
- ชิ้นงานที่นักเรียนทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา เช่น ต้นเทียน ดอกเทียน ฯลฯ
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนโครงงาน PBL“และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน ผ่านเครื่องมือคิด Mind Mapping หรือรูปแบบอื่นตามความสนใจ
ออกแบบและวางแผนการนำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านละคร ให้เพื่อนๆ และพี่ๆได้ชม
นักเรียนแบ่งหน้าที่ในการแสดง ซ้อมการแสดง และแสดงละครนำเสนอต่อครูและพี่ๆเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter ที่ 1
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

















ภาระงาน
- การออกแบบวางแผนการแสดงเพื่อสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping และ การแสดง
เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านละคร
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับบุญประเพณี ฮีตสิบสองสามารถถ่ายทอดความเข้าใจผ่านการแสดงและตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาตลอด 10 สัปดาห์ให้ผู้อื่นรับรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อ
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นเห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างมีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบใส่ใจในหน้าที่
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
11

โจทย์ : ความรู้และประเมินตนเองและเป็นเจ้าภาพงานบุญแห่เทียนเข้าพรรษา
Key  Questions
- อะไรที่นักเรียนทำได้ดีแล้ว อะไรที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
 - นักเรียนจะวางแผนเกี่ยวกับการเป็นเจ้าภาพงานบุญแห่เทียนเข้าพรรษาอย่างไร
เครื่องมือคิด

Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้และความรู้สึกจากการเรียนรู้ใน Quarter ที่ 1
Wall  Thinking : ชิ้นงานต่างๆ เช่น ตอบคำถามหลังเรียน ประเมินตนเองหลังเรียน และสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน เช่น ตอบคำถามหลังเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ชิ้นงานที่นักเรียนทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา เช่น ต้นเทียน ดอกเทียน ฯลฯ
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นตลอดทั้ง Quarter ที่ 1
นักเรียนตอบคำถามหลังเรียน
นักเรียนร่วมกันระดมความคิดเกี่ยวกับการเป็นเจ้าภาพงานบุญแห่เทียนเข้าพรรษา
ครูตั้งคำถาม จากการเรียนรู้และทำงานร่วมกันนักเรียน รู้สึกอย่างไร กิจกรรมอะไรที่รู้สึกประทับใจ เพราะอะไรและได้เรียนรู้อะไรบ้าง
นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น
นักเรียนร่วมกันประเมินตนเอง เช่นอะไรที่คิดว่าทำได้ดีแล้วและมีอะไรบ้างที่ตนเองควรพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดให้มีการเปิดวงสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (AAR หลังเรียนรู้ร่วมกับผู้ปกครอง)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์















ภาระงาน
การประเมินตนเองหลังเรียน
การเปิดวงสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้ปกครอง (ถอดบทเรียน)
- การเป็นเจ้าภาพงานบุญแห่เทียนเข้าพรรษา
ชิ้นงาน
ตอบคำถามหลังเรียน
การประเมินตนเองหลังเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่  11

ความรู้
เข้าใจและสามารถเคารพ ความแตกต่างของวิถีประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายและสามารถสืบสาน ถ่ายทอดวิถีปฏิบัติขนบธรรมเนียมประเพณีได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
 เลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
 - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อ
นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการแก้ปัญหา
การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
-รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
-เครารพตนเอง  และผู้อื่น
-มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง

สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากรู้
หน่วย ประเพณีชาวไทยมีอะไร”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558

สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้

 - ทำบุญที่วัด
               - พระ  เณร อยู่ในวัด
               -   ทำบุญตักบาตร
               -  ถวายสังฆทาน
              -   บุญเข้าพรรษา
-   บุญสงการนต์
-   บุญออกพรรษา
-   บุญคูณลาน
-   บุญบั้งไฟ
-   บุญกฐิน
-   บุญซำฮะ
-   ถวายต้นผ้าป่า
-   ถวายหลอดไฟ
-   ใส่บาตรวันเข้าพรรษา
-   ใส่บาตรวันออกพรรษา
-    เวียนเทียนวันเข้าพรรษา


        -   ทำไมต้องมีบุญประเพณีฮีตสิบสองคลองสิบสี่
        -   ทำไมต้องมีบุญซำฮะ
         -  ทำไมพระต้องมีเข้าพรรษา
        -  บุญประดับดินเป็นอย่างไร
         -  ทำไมต้องเรียกการทำบุญกฐิน
        -    ทำไมต้องมีการถวายสิ่งของและสังฆทานที่วัด
         -    บุญสงการนต์ทำไมต้องทำแต่ทำในเดือนเมษา
         -    ทำไมต้องเรียกว่าบุญข้าวจี
         -   การจุดบั้งไฟทำไมต้องเรียกว่าบุญ
         -  บุญพระเวสคือบุณอะไรทำไมต้องเรียกว่าบุญพระเวส
        -   ทำไมต้องเรียกว่าบุญข้าวสาก
         - ทำไมต้องเรียกบุญเข้ากรรม
         -   ทำไมต้องเรียกว่าบุญข้าวประดับดิน
          -     ทำไมต้องมีการทำบุญออกพรรษา
          - ทำไมต้องไปเวียนเทียนรอบโบสถ์
         -   ทำไมต้องมีการทำบุญ

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย “บุญประเพณีชาวไทยมีอะไร

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 Quarter 1 ปีการศึกษา 2558
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ประวัติศาสตร์
- สร้างฉันทะ
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว   สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน

มาตรฐาน ว 8.1
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ตามความสนใจ
(ว8.1 ป.2/1)
- วางแผนการศึกษาค้นคว้า  สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
 (ว 8.1ป.2/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว8.1 ป.2/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ 
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษา
(ว8.1 ป.2/4-6)

มาตรฐาน ส2.1
- ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ (ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 . 2/4)
มาตรฐาน พ2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 . 2/1)
- ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก การวางแผน รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 . 2/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
-สร้างงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้นสี รูปร่าง รูปทรงและการสื่อความหมายจากสิ่งที่คิดจินตนาการโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆเป็นสิ่งบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับบุญประเพณีของตนเองในการวาดภาพได้ (ศ 1.1 ป.2/3)
- นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะและ บรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นและเรื่องราวเนื้อหาของภาพได้
(ศ1.1 . 2/7)

มาตรฐาน ง1.1
-ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 . 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
-มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงาน รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการทำงานได้ (ง 2.1 ป.2/4)

มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความเป็นมาของบุญประเพณี (ส4.1ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลง
 (ส4.1ป.2/1)
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิด
ขึ้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้ (ส4.1ป.2/2)
-เข้าใจและสามารถระบุสถานที่สำคัญรวมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของสถานที่สำคัญให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ส4.1ป.2/2)
- สามารถสืบค้นและเข้าใจของบุญประเพณี ของบุญจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
(ส 4.2 ป.2/1)
- ความหมายและบุญประเพณี
- บุญซำฮะ
- เทียนและสิ่งประดิษฐ์
- การแกะลายเทียน
ทำดอกเทียนโบราณ

มาตรฐาน ว 8.1 
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ตามความสนใจ
(ว8.1 ป.2/1)
- วางแผนการศึกษาค้นคว้า  สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้ (ว8.1ป.2/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว8.1 ป.2/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้
 
(ว8.1 ป.2/4-6)
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็นแผนภาพ ชาร์ตความรู้ หรือคำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
 (ว8.1 ป.2/7-8)
มาตรฐาน ส 4.1
-สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความเป็นมาของบุญประเพณีบุญประเพณีโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย
(ส4.1ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลง
(ส4.1ป.2/1)
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้
(ส4.1ป.2/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- สามารถสืบค้นและเข้าใจของบุญประเพณีบุญประเพณี เข้าใจบุญประเพณีจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ (ส 4.2 ป.2/1)
- เรียนรู้เหตุการณ์เรื่องราวในอดีตระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนา
การของชุมชน เพื่อนำไปสู่ความอ่อนน้อมต่อบุคคลและสรรพสิ่ง
(ส 4.2 ป.3/1)
มาตรฐาน ส4.3
-สามารถระบุบุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้องถิ่นและบุญประเพณี เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปัญญาพื้นบ้านและ
ภูมิปัญญาไทยยกตัวอย่างประเพณีวัฒนธรรมประจำบุญประเพณีที่ควรอนุรักษ์ไว้ 
(ส 4.3 .2/1-2)
มาตรฐาน พ 5.1
- สามารถทำงานและดูแลตนเองระหว่างการทำงานหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับอันตรายระหว่างการทำงาน
(พ 5.1 .2/4)

มาตรฐาน ศ 1.2
-บอกความสำคัญของงานทัศนศิลป์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันและท้องถิ่น สามารถอธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานที่ใช้อุปกรณ์หรือวัสดุในท้องถิ่นได้
(ศ1.2 ป. 2/1-2)
มาตรฐาน ศ 2.2
-เข้าใจเห็นความ
สัมพันธ์ระหว่างดนตรีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมประจำบุญประเพณีบุญและสามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ2.2ป. 2/1-2)
มาตรฐาน ง 1.1
-  มีทักษะกระบวนการทำงาน  การแสวงหาความรู้ การจัดการ การแก้ไขปัญหาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1.2/2)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงาน รอบคอบ และมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด คุ้มค่า
 (ง 1.1.3/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ สื่อสารสนเทศ ได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 .6/2)

- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความเป็นมาของบุญประเพณีบุญประเพณีโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส4.1ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลง (ส4.1ป.2/1)
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้    (ส4.1ป.2/2)
-เข้าใจและสามารถระบุสถานที่สำคัญรวมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของสถานที่สำคัญให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ส4.1ป.2/2)มาตรฐาน ส 4.2
- สามารถสืบค้นและเข้าใจพัฒนาการของบุญประเพณีบุญประเพณี เข้าใจพัฒนาการของบุญประเพณีบุญประเพณีจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
(ส 4.2 ป.2/1)
- ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อวิถีชีวิตของคนในบุญประเพณี(ส 4.2 ป.2/2)
- เรียนรู้เหตุการณ์เรื่องราวในอดีตระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน เพื่อนำไปสู่ความอ่อนน้อมต่อบุคคลและสรรพสิ่ง  (ส 4.2 ป.
3/1)
- ประวัติความเป็นมาของวันเข้าพรรษา
การทำบุญเข้าพรรษ

มาตรฐาน ว 6.1
- เข้าใจกระบวนการต่างๆ ทางกายภาพของบุญประเพณีบุญประเพณีที่มีความสัมพันธ์กัน สำรวจและจำแนกประเภทของดินโดยใช้
คุณสมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ (ว 6.1ป.2/1)
มาตรฐาน ว
8.1 
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ตามความสนใจ
(ว8.1 ป.2/1)
- วางแผนการศึกษาค้นคว้า  สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้ (ว8.1ป.2/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว8.1 ป.2/3)
มาตรฐาน ส5.1
-สามารถระบุสิ่งที่เป็นธรรมชาติ เช่นป่าชุมชน ป่าสงวนและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นในท้องถิ่น เช่นโบราณสถาน โบราณวัตถุในบุญประเพณีบุญประเพณีได้
(ส5.1ป.2/1)
- เข้าใจ สามารถดูแผนที่และระบุตำแหน่ง แผนที่ ที่ตั้ง อาณาเขต และทิศที่ตั้งของได้
(ส5.1ป.2/2)
-เข้าใจและเห็นความ สัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับการดำรงชีวิตที่ยั่งยืนและตระหนักถึงการอนุรักษ์ทรัพยากร
(ส5.1ป.2/3)
มาตรฐาน ส5.2
-เข้าใจ เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันของทรัพยากรทางธรรมชาติ ทางสังคม ในบุญประเพณีบุญประเพณีและสามารถอธิบายได้
(ส5.2ป.2/1)
-เข้าใจและสามารถแยกแยะและเลือกใช้ทรัพยากรทั้งที่ใช้แล้วหมดไปและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส5.2ป.2/2)
- เข้าใจและสารถอธิบายความสัมพันธ์ของฤดูกาลในบุญประเพณีบุญประเพณีกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในถ้องถิ่นได้ (ส5.2ป.2/3)
-มีส่วนร่วมในการดูและ รักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและท้องถิ่นของตนเอง ตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นผู้มีจิตสำนึกที่ดีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ส5.2ป.2/4)
มาตรฐาน พ 5.1
- สามารถทำงานและดูแลตนเองระหว่างการทำงานหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับอันตราย
(พ 5.1 .2/4)

มาตรฐาน ศ1.1
-สามารถสร้างชิ้นงาน Model ภูมิศาสตร์ของบุญประเพณีบุญประเพณี มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์และจัดเก็บอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(ศ 1.1ป.2/4)
มาตรฐาน ง 1.1
-มีทักษะกระบวนการทำงาน  การแสวงหาความรู้ การจัดการ การแก้ไขปัญหาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1.2/2)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงาน รอบคอบ และมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด คุ้มค่า
 (ง 1.1.3/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ สื่อสารสนเทศ ได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 .6/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถอธิบายลักษณะภูมิศาสตร์ ของบุญประเพณีบุญประเพณีอดีต (ส4.1 .2/1)
- รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และจัดลำดับเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิศาสตร์ของบุญประเพณีบุญประเพณีในอดีตถึงปัจจุบัน (ส4.1 .2/2)
มาตรฐาน ส
4.2
- สามารถบอกถึงการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานและวิถีชีวิต
 (ส4.2 ป.2/1)
- สามารถอธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อวิถีชีวิต (ส4.2 ป.2/2)
มาตรฐาน ส
4.3
- เข้าใจและสามารถบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อวิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรค่าต่อการอนุรักษ์ไว้  (ส4.3ป.2/2)
สรุปองค์ความรู้
- ทบทวนสิ่งที่
อยากเรียนรู้
- Mind Mapping
หลังเรียนรู้
- สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
สิ่งที่ควรปรับปรุง

มาตรฐาน ว 8.1 
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับบุญประเพณีบุญประเพณีในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพความคิดและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา (ว8.1 ป.2/1)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม รวบ รวม และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้  (ว8.1 ป.2/4-6)
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็น
Mind Mapping หรือคำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
 (ว8.1 ป.2/7-8)
มาตรฐาน ส2.1
- ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ (ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียตริในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 . 2/4)
มาตรฐาน พ2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
 (พ 2.1 . 2/1)
- ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก การวางแผน รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 . 2/2)



มาตรฐาน ศ 1.1
วาดภาพสื่อความหมายของคำหรือประโยค เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ของคำและภาพที่มีความสอดคล้องกัน
(ศ1.1 ป.2/7)
มาตรฐาน ง1.1
-ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
 (ง 1.1 . 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
-มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานได้
 (ง 2.1 ป.2/4)
มาตรฐาน ส 4.3
สามารถทำประโยชน์ต่อท้องถิ่น และบุญประเพณี เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาพื้นบ้านและภูมิปัญญาไทย ยกตัวอย่างประเพณีวัฒนธรรมประจำบุญประเพณีที่ควรอนุรักษ์ไว้ 
(ส 4.3 .2/1-2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น